วันเสาร์ที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2557
การแต่งตัวอักษร HTML
การกำหนดแบบอักษร
ก็เหมือน ๆ กับตอนที่เราพิมพ์งานใน word นั้นละค่ะ ซึ่งเราจะสามารถเลือกได้ว่าเราจะใช้ฟอนต์แบบไหน ซึ่งอาจจะเป็น Arial หรือ Angsana New เป็นต้น ในการเขียน HTML เราก็สามารถกำหนดได้ค่ะ ว่าจะให้ข้อความของเราแสดงผลด้วยรูปแบบของฟอนต์แบบไหน
<html>
<head><title> ....การแต่งตัวอักษร....</title></head>
<body>
<font face = "Tahoma"> แบบอักษร Tahoma </font> <br>
<font face = "Cordia new"> แบบอักษร Cordia new </font> <br>
<font face = "Angsana New"> แบบอักษร Angsana New </font> <br>
<font face = "TH SarabunPSK"> แบบอักษร TH SarabunPSK </font> <br>
<font face = "MS Sans Serif"> แบบอักษร MS Sans Serif </font> <br>
</body>
</html>
แหล่งที่มา http://www.thainextstep.com/html/html_03.php วันที่ 14/08/57
ขนาดตัวอักษร
การกำหนดขนาดของข้อความสามารถกำหนดได้โดยใช้ตัวเลขเป็นตัวกำหนด ซึ่งสามารถกำหนดได้ 7 ระดับ รูปแบบการใส่มีด้วยกัน 3 แบบ คือ แบบแรกการกำหนดโดยใช้ตัวเลข 1-7 สองการกำหนดตัวเลขโดยใส่เครื่องหมาย + คือตั้งแต่ +1 - +7 และ การใส่แบบใส่เป็นค่าแบบ - ตั้งแต่ -1 - -7 ซึ่งรูปแบบการใส่มีดัง
<html>
<head><title> ....การปรับแต่งตัวอักษร....</title></head>
<body>
<font size = "7"> ข้อความนี้กำหนดขนาดเท่ากับ 7</font> <br>
<font size = "6"> ข้อความนี้กำหนดขนาดเท่ากับ 6</font> <br>
<font size = "5"> ข้อความนี้กำหนดขนาดเท่ากับ 5</font> <br>
<font size = "4"> ข้อความนี้กำหนดขนาดเท่ากับ 4</font> <br>
<font size = "3"> ข้อความนี้กำหนดขนาดเท่ากับ 3</font> <br>
<font size = "2"> ข้อความนี้กำหนดขนาดเท่ากับ 2</font> <br>
<font size = "1"> ข้อความนี้กำหนดขนาดเท่ากับ 1</font> <br>
</body>
</html>
แหล่งที่มา http://www.thainextstep.com/html/html_03.php วันที่ 14/08/57
สีตัวอักษร
การกำหนดสีสันของข้อความเป็นเรื่องสำคัญอยู่ในลำดับต้น ๆ ของการทำเว็บเลยทีเดียว เพราะสีสันข้อความสามารถดึงดูดสายตาของผู้เยี่ยมชม หากข้อความของเว็บใช้สีที่อ่านยาก เพราะว่าสีกลืนกันไปหมดกับพื้นหลัง ความสำคัญของการสื่อความหมายของข้อความนั้น ๆ อาจอ่อนด้อยลง ดังนั้นการพิจารณาเลือกใช้สีควรเลือกให้เหมาะกับโทนสีทั้งหมดของเว็บ ไม่ควรอ่อนด้อยเกินไป หรือโดดเด่นเิกินไป (สำหรับข้อความเล็ก ๆ ต้องการเน้นอาจทำได้) ซึ่งรูปแบบการใส่สีให้ข้อความในเว็บมีดังนี้
<html>
<head><title> ....การแต่งตัวอักษร....</title></head>
<body>
<font color = "red"> นี่คือตัวอักษรสีแดง</font> <br>
<font color = "#007700"> นี่คือตัวอักษรสีเขียว </font> <br>
<font color = "#0000ff"> นี่คือตัวอักษรสีน้ำเงิน </font> <br>
<font color = "#9933cc"> นี่คือตัวอักษรสีม่วง </font> <br>
<font color = "#ffff00"> นี่คือตัวอักษรสีเหลือง </font> <br>
<font color = "#ff99ff"> นี่คือตัวอักษรสีชมพู </font> <br>
</body>
</html>
แหล่งที่มา http://www.thainextstep.com/html/html_03.php วันที่ 14/08/57
ตัวเอียง ตัวหนา ขีดเส้นใต้
สำหรับบทความนี้ก็ยังคงเกี่ยวข้องกับข้อความ เป็นบทความที่ต่อเนื่องมาจากบทความที่แล้ว ในบทความนี้เราจะมาจัดรูปแบบของข้อความ ในการทำเว็บส่วนใหญ่เนื้อหาจะเป็นส่วนสำคัญ ในบางครั้งเราต้องการที่จะเน้นที่ข้อความใดข้อความหนึ่ง เพื่อดึงดูดความสนใจ ซึ่งเราอาจจะเน้นข้อความนั้น ๆ เป็นพิเศษ ด้วยการใส่ตัวหนา ตัวเอียง การขีดเส้นใต้ข้อความ
ในแท็กภาษา HTML ก็มีคำสั่งเหล่านี้อยู่ด้วยเหมือนกัน โดยรูปแบบของแท็ก มีดังนี้
1. การกำหนดแบบตัวหนา (Bold) <b> ...ข้อความ...</b> หรือ <strong> ...ข้อความ...</strong>
2. การกำหนดแบบตัวเอียง (Italic) <i> ...ข้อความ...</i>
3. การกำหนดแบบตัวขีดเส้นใต้ (Underline) <u>...ข้อความ...</u>
<html>
<head><title> ....ตัวเอียง ตัวหนา ขีดเส้นใต้....</title></head>
<body>
<i><font size = "2"> ตัวเอียง(Italic) </font></i><br>
<b><font size = "2"> ตัวหนา(Bold) </font></b><br>
<u><font size = "2"> ตัวขีดเส้นใต้(Underline) </font></u><br>
</body>
</html>
แหล่งที่มา http://www.thainextstep.com/html/html_04.php วันที่ 14/08/57
ตัวขีดฆ่า ตัวยกกำลัง ตัวห้อย
สำหรับบทความนี้ก็ยังคง เกี่ยวข้องกับข้อความ เป็นบทความที่ต่อเนื่องมาจากบทความที่แล้ว ในบทความนี้เราจะมาจัดรูปแบบของข้อความ ในการทำเว็บส่วนใหญ่เนื้อหาจะเป็นส่วนสำคัญ ในบางครั้งเราต้องการที่จะใช้แสดงข้อความแบบขีดฆ่าตัวอักษร ทั้งนี้เพื่อเน้นข้อความเปรียบเทียบหรือไม่ต้องการในประโยคนั้น
<html>
<head><title> ....ตัวขีดฆ่า ตัวยกกำลัง ตัวห้อย....</title></head>
<body>
Computer <SUP> 2 </SUP> <P>
<S>Microsoft Windows 7</S> <P>
H<SUB>2</SUB>O<P>
</body>
</html>
แหล่งที่มา http://www.thainextstep.com/html/html_04.php วันที่ 14/08/57
ตัวอักษรวิ่ง ตัวอักษรกระพริบ
ตัวอักษรวิ่ง ใช้สำหรับแสดงข้อความแบบเคลื่อนที่ไปยังทิศทางที่เราต้องการ มีรูปแบบการใช้ดังนี้
<marquee scrolldelay="ความเร็ว" direction="ทิศทางวิ่ง">ข้อความ</marquee>
- scrolldelay ให้แทนค่าด้วยความเร็วเป็น ตัวเลข ส่วน direction ใส่ได้เฉพาะ Up,Down,Left และ Right
ตัวอักษรกระพริบ ใช้กำหนดแสดงข้อความแบบกระพริบ จะมีลักษณะการแสดงผลเป็นแบบติด - ดับ สลับกันไป
<html>
<head><title> ....ตัวอักษณวิ่ง ตัวอักษรกระพริบ....</title></head>
<body>
<center>
<marquee scrolldelay="100" direction="Right">WEBTHAIDD</marquee>
<marquee scrolldelay="100" direction="Left">WEBTHAIDD</marquee>
<marquee scrolldelay="100" direction="Up">WEBTHAIDD</marquee>
<marquee scrolldelay="100" direction="Down">WEBTHAIDD</marquee>
<Blink>COMPUTER</Blink>
</body>
</html>
แหล่งที่มา https://sites.google.com/site/cirayus/sux-kar-reiyn-ru/4-kar-cadkar-taw-xaksr วันที่ 14/08/57
การจัดตำแหน่งข้อความ
1. การกำหนดให้อยู่ตำแหน่งกึ่งกลางด้วยแท็ก Center <center> ...ข้อความ...</center>
2. การกำหนดตำแหน่งโดยใช้ Attribute ของแท็ก <p> โดยใช้ Attribute align รูปแบบดังนี้
<p align = "ตำแหน่ง"> ...ข้อความ...</p>
ตำแหน่งที่สามารถระบุได้ คือ left center หรือ right
<html>
<head><title> ....การจัดตำแหน่งข้อความ....</title></head>
<body>
<center><font size = "2"> ข้อความนี้อยู่กึ่งกลาง</font></center><br>
<p align = "left"><font size = "2"> ข้อความชิดซ้าย </font></p><br>
<p align = "center"><font size = "2"> ข้อความนี้อยู่กึ่งกลาง </font></p><br>
<p align = "right"><font size = "2"> ข้อความนี้ชิดขวา </font></p><br>
</body>
</html>
ก็เหมือน ๆ กับตอนที่เราพิมพ์งานใน word นั้นละค่ะ ซึ่งเราจะสามารถเลือกได้ว่าเราจะใช้ฟอนต์แบบไหน ซึ่งอาจจะเป็น Arial หรือ Angsana New เป็นต้น ในการเขียน HTML เราก็สามารถกำหนดได้ค่ะ ว่าจะให้ข้อความของเราแสดงผลด้วยรูปแบบของฟอนต์แบบไหน
<html>
<head><title> ....การแต่งตัวอักษร....</title></head>
<body>
<font face = "Tahoma"> แบบอักษร Tahoma </font> <br>
<font face = "Cordia new"> แบบอักษร Cordia new </font> <br>
<font face = "Angsana New"> แบบอักษร Angsana New </font> <br>
<font face = "TH SarabunPSK"> แบบอักษร TH SarabunPSK </font> <br>
<font face = "MS Sans Serif"> แบบอักษร MS Sans Serif </font> <br>
</body>
</html>
แหล่งที่มา http://www.thainextstep.com/html/html_03.php วันที่ 14/08/57
ขนาดตัวอักษร
การกำหนดขนาดของข้อความสามารถกำหนดได้โดยใช้ตัวเลขเป็นตัวกำหนด ซึ่งสามารถกำหนดได้ 7 ระดับ รูปแบบการใส่มีด้วยกัน 3 แบบ คือ แบบแรกการกำหนดโดยใช้ตัวเลข 1-7 สองการกำหนดตัวเลขโดยใส่เครื่องหมาย + คือตั้งแต่ +1 - +7 และ การใส่แบบใส่เป็นค่าแบบ - ตั้งแต่ -1 - -7 ซึ่งรูปแบบการใส่มีดัง
<html>
<head><title> ....การปรับแต่งตัวอักษร....</title></head>
<body>
<font size = "7"> ข้อความนี้กำหนดขนาดเท่ากับ 7</font> <br>
<font size = "6"> ข้อความนี้กำหนดขนาดเท่ากับ 6</font> <br>
<font size = "5"> ข้อความนี้กำหนดขนาดเท่ากับ 5</font> <br>
<font size = "4"> ข้อความนี้กำหนดขนาดเท่ากับ 4</font> <br>
<font size = "3"> ข้อความนี้กำหนดขนาดเท่ากับ 3</font> <br>
<font size = "2"> ข้อความนี้กำหนดขนาดเท่ากับ 2</font> <br>
<font size = "1"> ข้อความนี้กำหนดขนาดเท่ากับ 1</font> <br>
</body>
</html>
แหล่งที่มา http://www.thainextstep.com/html/html_03.php วันที่ 14/08/57
สีตัวอักษร
การกำหนดสีสันของข้อความเป็นเรื่องสำคัญอยู่ในลำดับต้น ๆ ของการทำเว็บเลยทีเดียว เพราะสีสันข้อความสามารถดึงดูดสายตาของผู้เยี่ยมชม หากข้อความของเว็บใช้สีที่อ่านยาก เพราะว่าสีกลืนกันไปหมดกับพื้นหลัง ความสำคัญของการสื่อความหมายของข้อความนั้น ๆ อาจอ่อนด้อยลง ดังนั้นการพิจารณาเลือกใช้สีควรเลือกให้เหมาะกับโทนสีทั้งหมดของเว็บ ไม่ควรอ่อนด้อยเกินไป หรือโดดเด่นเิกินไป (สำหรับข้อความเล็ก ๆ ต้องการเน้นอาจทำได้) ซึ่งรูปแบบการใส่สีให้ข้อความในเว็บมีดังนี้
<html>
<head><title> ....การแต่งตัวอักษร....</title></head>
<body>
<font color = "red"> นี่คือตัวอักษรสีแดง</font> <br>
<font color = "#007700"> นี่คือตัวอักษรสีเขียว </font> <br>
<font color = "#0000ff"> นี่คือตัวอักษรสีน้ำเงิน </font> <br>
<font color = "#9933cc"> นี่คือตัวอักษรสีม่วง </font> <br>
<font color = "#ffff00"> นี่คือตัวอักษรสีเหลือง </font> <br>
<font color = "#ff99ff"> นี่คือตัวอักษรสีชมพู </font> <br>
</body>
</html>
แหล่งที่มา http://www.thainextstep.com/html/html_03.php วันที่ 14/08/57
ตัวเอียง ตัวหนา ขีดเส้นใต้
สำหรับบทความนี้ก็ยังคงเกี่ยวข้องกับข้อความ เป็นบทความที่ต่อเนื่องมาจากบทความที่แล้ว ในบทความนี้เราจะมาจัดรูปแบบของข้อความ ในการทำเว็บส่วนใหญ่เนื้อหาจะเป็นส่วนสำคัญ ในบางครั้งเราต้องการที่จะเน้นที่ข้อความใดข้อความหนึ่ง เพื่อดึงดูดความสนใจ ซึ่งเราอาจจะเน้นข้อความนั้น ๆ เป็นพิเศษ ด้วยการใส่ตัวหนา ตัวเอียง การขีดเส้นใต้ข้อความ
ในแท็กภาษา HTML ก็มีคำสั่งเหล่านี้อยู่ด้วยเหมือนกัน โดยรูปแบบของแท็ก มีดังนี้
1. การกำหนดแบบตัวหนา (Bold) <b> ...ข้อความ...</b> หรือ <strong> ...ข้อความ...</strong>
2. การกำหนดแบบตัวเอียง (Italic) <i> ...ข้อความ...</i>
3. การกำหนดแบบตัวขีดเส้นใต้ (Underline) <u>...ข้อความ...</u>
<html>
<head><title> ....ตัวเอียง ตัวหนา ขีดเส้นใต้....</title></head>
<body>
<i><font size = "2"> ตัวเอียง(Italic) </font></i><br>
<b><font size = "2"> ตัวหนา(Bold) </font></b><br>
<u><font size = "2"> ตัวขีดเส้นใต้(Underline) </font></u><br>
</body>
</html>
ตัวขีดฆ่า ตัวยกกำลัง ตัวห้อย
สำหรับบทความนี้ก็ยังคง เกี่ยวข้องกับข้อความ เป็นบทความที่ต่อเนื่องมาจากบทความที่แล้ว ในบทความนี้เราจะมาจัดรูปแบบของข้อความ ในการทำเว็บส่วนใหญ่เนื้อหาจะเป็นส่วนสำคัญ ในบางครั้งเราต้องการที่จะใช้แสดงข้อความแบบขีดฆ่าตัวอักษร ทั้งนี้เพื่อเน้นข้อความเปรียบเทียบหรือไม่ต้องการในประโยคนั้น
<html>
<head><title> ....ตัวขีดฆ่า ตัวยกกำลัง ตัวห้อย....</title></head>
<body>
Computer <SUP> 2 </SUP> <P>
<S>Microsoft Windows 7</S> <P>
H<SUB>2</SUB>O<P>
</body>
</html>
ตัวอักษรวิ่ง ตัวอักษรกระพริบ
ตัวอักษรวิ่ง ใช้สำหรับแสดงข้อความแบบเคลื่อนที่ไปยังทิศทางที่เราต้องการ มีรูปแบบการใช้ดังนี้
<marquee scrolldelay="ความเร็ว" direction="ทิศทางวิ่ง">ข้อความ</marquee>
- scrolldelay ให้แทนค่าด้วยความเร็วเป็น ตัวเลข ส่วน direction ใส่ได้เฉพาะ Up,Down,Left และ Right
ตัวอักษรกระพริบ ใช้กำหนดแสดงข้อความแบบกระพริบ จะมีลักษณะการแสดงผลเป็นแบบติด - ดับ สลับกันไป
<html>
<head><title> ....ตัวอักษณวิ่ง ตัวอักษรกระพริบ....</title></head>
<body>
<center>
<marquee scrolldelay="100" direction="Right">WEBTHAIDD</marquee>
<marquee scrolldelay="100" direction="Left">WEBTHAIDD</marquee>
<marquee scrolldelay="100" direction="Up">WEBTHAIDD</marquee>
<marquee scrolldelay="100" direction="Down">WEBTHAIDD</marquee>
<Blink>COMPUTER</Blink>
</body>
</html>
แหล่งที่มา https://sites.google.com/site/cirayus/sux-kar-reiyn-ru/4-kar-cadkar-taw-xaksr วันที่ 14/08/57
การจัดตำแหน่งข้อความ
ลองเขียนโค้ดมาก็หลายโค้ดแล้วนะค่ะ
แต่โค้ดที่ผ่านมาแบบไหน ๆ ก็แสดงข้อความที่ตำแหน่งชิดซ้ายของหน้าจอเสมอ
อยากเปลี่ยนตำแหน่งการวางข้อความบ้าง ต้องเขียนโค้ดอย่งไร ในบทความนี้
Webmaster มีคำตอบ (แท็ก) มาฝากค่ะ
ในการกำหนดตำแหน่งในภาษา HTML สามารถกำหนดได้หลายรูปแบบค่ะ
ทั้งแบบกำหนดเป็นแท็ก และการกำหนดเป็น Attribute ของแท็กค่ะ
โดยมีรูปแบบดังนี้ค่ะ1. การกำหนดให้อยู่ตำแหน่งกึ่งกลางด้วยแท็ก Center <center> ...ข้อความ...</center>
2. การกำหนดตำแหน่งโดยใช้ Attribute ของแท็ก <p> โดยใช้ Attribute align รูปแบบดังนี้
<p align = "ตำแหน่ง"> ...ข้อความ...</p>
ตำแหน่งที่สามารถระบุได้ คือ left center หรือ right
<html>
<head><title> ....การจัดตำแหน่งข้อความ....</title></head>
<body>
<center><font size = "2"> ข้อความนี้อยู่กึ่งกลาง</font></center><br>
<p align = "left"><font size = "2"> ข้อความชิดซ้าย </font></p><br>
<p align = "center"><font size = "2"> ข้อความนี้อยู่กึ่งกลาง </font></p><br>
<p align = "right"><font size = "2"> ข้อความนี้ชิดขวา </font></p><br>
</body>
</html>
แหล่งที่มา http://www.thainextstep.com/html/html_05.php วันที่ 14/08/57
วันเสาร์ที่ 28 มิถุนายน พ.ศ. 2557
HTML tag พื้นฐาน
วันที่ 28 มิ.ย. 57
Text Editor คือ โปรแกรมที่ใช้สำหรับสร้างและแก้ไขข้อความในการสร้างเว็บเพจด้วยภาษา HTML นั้นต้องมีเครื่องมือที่ใช้ในการเขียน และแก้ไขตัวอักษรซึ่งเป็นคำสั่งต่าง ๆปัจจุบันมี โปรแกรม Text Editor หลายโปรแกรม เช่น NotePad, EditPlus หรือโปรแกรม Dreamweaverซึ่งมีคุณสมบัติเป็นทั้งโปรแกรมสำเร็จรูปในการสร้างเว็บเพจด้วย
แหล่งที่มา http://www.kts.ac.th/kts/kanghan/html/unit105.htm วันที่ 28 มิ.ย. 57
Web browser ซึ่งหมายถึง แอพพลิเคชัน (ซอฟต์แวร์ประยุกต์ที่พัฒนาขึ้นมา เพื่อใช้งานเฉพาะทาง) ที่ใช้สำหรับสืบค้น(browse) และแสดงหน้าเว็บ (webpage) ต่างๆ ที่อยู่ในเว็บเซิร์ฟเวอร์บนอินเทอร์เน็ต โดยบราวเซอร์ยอดนิยมจะมีอยู่ 2 ตัวด้วยกันคือ Internet Explorer และ Firefox ซึ่งบราวเซอร์พวกนี้จะสามารถแสดงผลหน้าเว็บที่จัดทำออกมาในรูปแบบของมัลติมี เดีย (ข้อความ ภาพ เสียง และวิดีโอ) ได้อย่างสมบูรณ์
แหล่งที่มา http://web-browser-worwwut-k-ws.blogspot.com/ วันที่ 28 มิ.ย. 57
องค์ประกอบของเอกสาร HTML
คำสั่ง < HTML > เป็นคำสั่งเริ่มต้นในการเขียนโปรแกรมและคำสั่ง < /HTML > เป็นการสิ้นสุดโปรแกรม HTML คำสั่งนี้จะไม่แสดงผลในโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ แต่ต้องเขียนเพื่อให้เกิดความเป็นระบบของงาน และเพื่อจะให้รู้ว่าเอกสารนี้เป็นเอกสารของภาษา HTML
แหล่งที่มา http://www.kmitl.ac.th/~kkpraser/HTML/Info.htm วันที่ 28 มิ.ย. 57
คำสั่ง < HEAD > เป็นคำสั่งที่ใช้กำหนดข้อความในส่วนที่เป็นชื่อเรื่องของไฟล์ HTML และภายในคำสั่ง <HEAD>...</HEAD> จะมีคำสั่งย่อยอีกคำสั่งหนึ่งคือ < TITLE >........< /TITLE >
แหล่งที่มา http://www.kmitl.ac.th/~kkpraser/HTML/Info.htm วันที่ 28 มิ.ย. 57
คำสั่ง <TITLE> เป็นคำสั่งที่แสดงชื่อของเอกสาร หรือชื่อเรื่องของไฟล์ HTML ซึ่งข้อความภายในคำสั่งจะปรากฎหรือแสดงผลในส่วนของไตเติลบาร์ (Title Bar) ของโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ แต่จะไม่แสดงในส่วนของการแสดงผลในโปรแกรมเว็บบราวเซอร์
แหล่งที่มา http://www.kmitl.ac.th/~kkpraser/HTML/Info.htm วันที่ 28 มิ.ย. 57
คำสั่ง < BODY > เป็นส่วนที่สำคัญในการแสดงผลในเว็บบราวเซอร์ ซึ่งจะประกอบไปด้วยตัวอักษร รูปภาพกราฟิกต่าง ๆ
แหล่งที่มา http://www.kmitl.ac.th/~kkpraser/HTML/Info.htm วันที่ 28 มิ.ย. 57
คำสั่ง <BR> คือ การขึ้นบรรทัดใหม่ ให้ผลเสมือนการกด Enter บนคีย์บอร์ด คำสั่ง <br> ส่วนใหญ่มักนิยมจะวางไว้ในตำแหน่งสุดท้ายของประโยค โดยต้องการให้แสดงผลประโยคใหม่ในบรรทัดต่อมา คำสั่ง <br> จะเป็นคำสั่งที่ไม่ต้องมีคำสั่งปิด (Single Tag)
แหล่งที่มา http://pirun.ku.ac.th/~agrtnk/web/units/unit3/unit3-1.htm วันที่ 28 มิ.ย. 57
คำสั่ง <P> เป็นคำสั่งขึ้นย่อหน้าใหม่ใช้กับข้อความ โดยใช้เพียวตัวเดียวแทรกในข้อความ ภายในคำสั่ง <body>
แหล่งที่มา http://www.krusamut.com/?p=143 วันที่ 28 มิ.ย. 57
วันอาทิตย์ที่ 15 มิถุนายน พ.ศ. 2557
คำศัทพ์พื้นฐานที่เกี่ยวกับการสร้างเว็บ
Internet คือ เครือข่ายของคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าด้วยกัน โดยอาศัยเครือข่ายโทรคมนาคมเป็นตัวเชื่อมเครือข่าย ภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงด้วยโปรโตคอลเดียวกัน คือ TCP/IP (Transmission Control Protocol / Internet Protocol)
แหล่งที่มา http://kwammai.blogspot.com/ วันที่ 15 มิ.ย. 57
แหล่งที่มา http://kwammai.blogspot.com/ วันที่ 15 มิ.ย. 57
วันจันทร์ที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2557
ประวัติส่วนตัว
ชื่อ น.ส. โยทะกา สืบสาม
ชื่อเล่น เดียร์
เกิดวันที่ 17 ก.ค. 39 อายุ 17 ปี
วิชาที่ชอบเรียน ศิลปะ
อนาคตอยากเป็น สถาปนิก
คติประจำใจ ไม่มีคำว่าสาย ถ้าคิดจะเริ่มต้น
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)